เกี่ยวกับโครงการ
เทคโนโลยีชีวภาพ


 

 

รายการวันนี้
รายละเอียดความก้าวหน้าโครงการ


จากข้อเสนอที่ผ่านการพิจารณาจากคณะทำงานฯ แล้ว ทั้ง 38 รายนั้น หากการติดตั้งระบบก๊าซชีวภาพทั้งหมดแล้วเสร็จจะสามารถผลิตก๊าซชีวภาพได้รวม 272,241,246 ลบ.ม./ปี  คิดเป็นมูลค่าการทดแทนพลังงานรวม 1,608.41 ล้านบาท/ปี ภายใต้วงเงินลงทุนในการก่อสร้างระบบก๊าซชีวภาพรวม 4,264.53 ล้านบาท โดยภาคเอกชนที่ลงทุนก่อสร้างระบบฯ จะได้รับสนับสนุนจากกองทุนฯ รวม 389.89 ล้านบาท

สถานภาพการรับข้อเสนอ        

         ตามที่ สนพ. ได้ประกาศรับข้อเสนอภายใต้โครงการส่งเสริมเทคโนโลยีก๊าซชีวภาพรอบที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 17 ธันวาคม 2550 จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2551 นั้น ได้มีผู้ประกอบการสนใจยื่นข้อเสนอข้อรับการสนับสนุนจำนวนทั้งสิ้น 38 ราย ขอยกเลิก 3 ราย และผ่านการพิจารณา 30 ราย เอกสารไม่พร้อม 3 ราย และไม่ผ่านการพิจารณา 2 ราย โดยคิดเป็นเงินสนับสนุนทั้งสิ้น 302.82 ล้านบาท

          และรอบที่ 2 ตั้งแต่วันที่ 2 มิถุนายน 2551 จนถึงวันที่ 29 สิงหาคม 2551 ได้มีผู้ประกอบการสนใจยื่นข้อเสนอขอรับการสนับสนุนอีกจำนวน 18 ราย ซึ่งได้ผ่านการพิจารณาแล้วจำนวน 8 ราย โดยที่เหลืออีก 10 ราย อยู่ในระหว่างการดำเนินการพิจารณา โดยคิดเป็นเงินสนับสนุนของข้อเสนอที่ผ่านการพิจารณาแล้วทั้งสิ้น 87.07 ล้านบาท ซึ่งเป็นเงินสนับสนุนรวมทั้ง 2 รอบ จำนวน 389.89 ล้านบาท

          คงเหลือวงเงินสนับสนุนจากกองทุนฯ ทั้งสิ้นจำนวน 120.11 ล้านบาท สามารถสรุปรายละเอียดวงเงินที่อนุมัติให้การสนับสนุนดังนี้

วงเงินที่อนุมัติให้การสนับสนุน

ประเภทโรงงานอุตสาหกรรม

เป้าหมายการสนับสนุน

ข้อเสนอที่อนุมัติแล้ว

วงเงินคงเหลือ (บาท)

(แห่ง)

(ล้านบาท)

แห่ง

เงินลงทุน (บาท)

เงินสนับสนุน (บาท)

1.แป้งมันสำปะหลัง

15

150

13 

1,454,009,147

120,023,922

29,976,078

2.น้ำมันปาล์ม

11

110

13

1,019,951,496

109,038,555

961,445

3.โรงงานเอทานอล

5

100

1,697,941,222

144,804,000

(44,804,000)

4.โรงงานน้ำยางข้น

5

30

1

8,700,000

840,900

29,159,100

5.โรงงานอุตสาหกรรมอาหาร

20

120

3

83,932,435

15,179,487

104,820,513

6.โรงงานอื่นๆ

-

-

-

-

-

-

รวม

56

510

38

4,264,534,300

389,886,864

120,113,136

ศักยภาพการใช้ก๊าซชีวภาพเป็นพลังงานทดแทน

ปริมาณก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้แยกตามอุตสาหกรรมได้ ดังนี้

       1. อุตสาหกรรมเอทานอลซึ่งมีจำนวน 8 ราย ผลิตก๊าซชีวภาพได้ 125.1 ล้าน Nm3/ปี คิดเป็น 45.96 %

       2. อุตสาหกรรมแป้งซึ่งมีจำนวน 13 ราย ผลิตก๊าซชีวภาพได้ 92.4 ล้าน Nm3/ปี คิดเป็น 33.95 %

       3. อุตสาหกรรมปาล์มซึ่งมีจำนวน 13 ราย ผลิตก๊าซชีวภาพได้ 48.4 ล้าน Nm3/ปี คิดเป็น 17.78 %

       4. อุตสาหกรรมอาหารซึ่งมีจำนวน 3 ราย ผลิตก๊าซชีวภาพได้ 6 ล้าน Nm3/ปี คิดเป็น 2.19 %

       5. อุตสาหกรรมยางซึ่งมีจำนวน 1 ราย ผลิตก๊าซชีวภาพได้ 0.3 ล้าน Nm3/ปี คิดเป็น 0.12 %


ชนิดพลังงานที่ทดแทนด้วยก๊าซชีวภาพแบ่งประเภทได้ ดังนี้

        1. ไฟฟ้า 228.4 ล้าน kWh / ปี

        2. น้ำมันเตา 67.88 ล้าน ลิตร / ปี

        3. น้ำมันดีเซล 0.19 ล้าน ลิตร / ปี

        4. LPG 0.34 ล้าน กก. / ปี

        5. ชานอ้อย 30,000 ตัน / ปี

        6. ทะลายปาล์ม 2,989 ตัน / ปี

        7. ถ่านหิน 18,764 ตัน / ปี

        8. ไม้ฟืน 5,288 ตัน / ปี 

รูปแบบการใช้ก๊าซชีวภาพเป็นพลังงานทดแทน

ประเภทโรงงานอุตสาหกรรม

จำนวน (ราย)

ทดแทนการใช้เชื้อเพลิง

ผลิตไฟฟ้า

ชนิดเชื้อเพลิง

ปริมาณที่ทดแทน

หน่วย

มูลค่าเชื้อเพลิงที่ทดแทน

(บาท/ปี)

กำลังการผลิต (kW)

ปริมาณไฟฟ้าที่ผลิตได้

(kWh/ปี)

มูลค่าไฟฟ้าที่ผลิตได้(บาท/ปี)

1.อุตสาหกรรมแป้ง

13 

น้ำมันเตา

LPG 

27,466,565

336,000 

ลิตร/ปี

กก./ปี 

418,256,696

6,048,000 

74,376

 

89,552,654

 

240,102,280

2.น้ำมันปาล์ม

13

ชีวมวล

2,989

ตัน/ปี

5,978,477

18,007

91,166,726

287,171,532

3.โรงงานเอทานอล

ถ่านหิน

ชานอ้อย

น้ำมันเตา

18,764

30,000

39,361,160

ตัน/ปี

ตัน/ปี

ลิตร/ปี

44,095,218

10,497,600

430,322,106

4,600

-

-

47,677,745

-

-

137,528,975

-

-

4.อุตสาหกรรมยาง

1

น้ำมันดีเซล

186,900

ลิตร/ปี

5,482,484

-

-

-

5.อุตสาหกรรมอาหาร

3

น้ำมันเตา

ไม้ฟืน

1,051,380

5,288

ลิตร/ปี

ตัน/ปี

18,099,840

4,825,665

-

-

-

-

-

-

รวม

31

     

943,606,087

36,983

228,397,125

664,802,787

การใช้ประโยชน์ก๊าซชีวภาพแบ่งประเภทได้ ดังนี้

       1. ใช้ในการผลิตความร้อน 150.21 ล้าน Nm3/ปี คิดเป็น 56 %

       2. ใช้ในการผลิตไฟฟ้า 108.80 ล้าน Nm3/ปี คิดเป็น 40 %

       3. ใช้ในการผลิตไฟฟ้าความร้อนร่วม 11.21 ล้าน Nm3/ปี คิดเป็น 4 %